เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
Porntip srikaew [nuy] ID 5411204398 Junior Field of Early Childhood Education Faculty of Education Chandrakasem Rajabhat University.
dookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารักdookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารักdookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารักdookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารักdookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารัก dookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารักdookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารักdookdik icon ดุ๊กดิ๊กน่ารัก

วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2557

สัปดาห์ที่ 13

วันที่ 30 มกราคม 2557


การเรียนการสอน
อาจารย์สอนเนื้อหา เรื่อง การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เด็กกลุ่ม (Down’s syndrome)
 เด็กกลุ่ม (Down’s syndrome) สุปเนื้อหาได้ดังนี้
  • รักษาตามอาการ
  • แก้ไขความผิดปกติที่พบร่วมด้วย
  • ให้เด็กสามารถช่วยเหลือตนเองได้ในชีวิตประจำวัน และใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้ใกล้เคียงกับตนปกติมากที่สุด
  • เน้นการดูแลแบบองค์รวม ( holistic approach)
การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กดาวน์ซินโดรม ดังนี้
1. ด้านสุขภาพอนามัย
บิดามารดาพาบุตรไปพบแพทย์ ตั้งแต่เริ่มแรก ติดตามการรักษาเป็นระยะๆ
2. การส่งเสริมพัฒนาการ
 เด็กกลุ่มอาการดาวน์สามารถพัฒนาได้ ถ้าได้รับการฝึกสอนที่เหมาะสม
3. การดำรงชีวิตประจำวัน
  ฝึกให้ช่วยเหลือตนเอง
4. การฟื้นฟูสมรรถภาพ
ทางการแพทย์   การฝึกพูด กายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด
ทางการศึกษา   แผนการศึกษาเฉพาะบุคคล IEP
ทางสังคม     การฝึกทักษะการดำรงชีวิต 
ทางอาชีพ  โดยการฝึกอาชีพ
การเลี้ยงดูในช่วง 3 เดือนแรก
  • การปฏิบัติของบิดา มารดา ยอมรับความจริง
  • เด็กกลุ่มอาการดาวน์มีพัฒนาการเป็นขั้น  เช่นเดียวกับเด็กทั่วไป
  • ให้ความรักและความอบอุ่น
  • การตรวจภายใน มะเร้งปากมดลูก เต้านม
  • การคุมกำเนิด การทำหมัน การสอนเพศศึกษา ตรวจโรคหัวใจ
เด็กกลุ่มอาการ Autistic

การดูแลและส่งเสริมพัฒนาการเด็กออทิสติก ดังนี้
  • ส่งเสริมความเข้มแข้งครอบครัว  การสอนเพศศึกษาและการตรวจโรคหัวใจ
  • ส่งเสริมความสามารถของเด็ก มีบทบาทสำคัญที่สุด
  • การสื่อความหมายทดแทน (ACC)  ส่งเสริมความสามารถของเด็ก ให้ได้เล่นของเล่นที่หลากหลาย และทำกิจกรรมที่หลากหลาย
  • ศิลปกรรมบำบัด (Art Therapy) ปรับพฤติกรรม ฝึกทักษะทางสังคม ให้รงเสริม
  • ตนตรีบำบัด    การฝึกพูด การสื่อความหมายทดแทน (ACC)
  • การฝังเข็ม การฝึกพูด การมีสมาธิ การฟัง การทำตามคำสั่ง
  • การบำบัดด้วยสัตว์ การรักษาด้วยยา Methylphnidate (Ritlin)ช่วยลดอาการไม่นิ่ง/ชนหุนหันพลันแล่น/ขาดสมาธิ  
สะท้อนการเรียน
      จากเนื้อหาที่เรียนทำให้เรารู้ว่าเด็กดาวน์ซินโดรมมีอาการอย่างไร เพื่อจะสามารถช่วยเหลือหรือบำบัดเด็กได้ทันท่วงทีเวลาเราได้ลงมือปฏิบัติจริงในการเรียนการสอน ซึ่งเนื้อหาที่อาจารย์นำมาสอนสำคัญกับเด็กที่มีความบกพร่องทางพันธุ์กรรมเป็นอย่างมาก เช่นเด็กลุ่มดาวน์ซินโดรม และเด็กที่มีอาการทางออทิสติก ทำให้ได้รับองค์ความรู้ที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่นๆและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตต่อไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น